[ บทความ : แนะนำบอร์ดควบคุม ]

ก่อนที่เราจะมาเริ่มกล่าวกันถึงบทความเรื่องแนะนำบอร์ดควบคุม ... ผมขอเกริ่นเอาไว้ ณ ที่นี้เลยนะครับว่า บอร์ดต่างๆ ที่ผมกล่าว ถึงในบทความของผมนั้น เป็นบอร์ดควบคุมที่ผมซื้อมาทดลองด้วยเงินของผมเอง ... มีบ้างที่มีรุ่นพี่ให้ยืม [ มีเงินไม่มากพอจะซื้อทุกอย่างได้ ... เลยต้องยืมเขามาบ้าง ] ส่วนเนื้อหาบทความนี้เป็นเพียงความคิดเห็นส่วนตัวของผมเท่านั้นนะครับ ดีหรือไม่ดีเราต้องดูจากความต้องการ ของผู้อ่านเองด้วยนะครับ ...

รูปด้านซ้ายเป็น ET-AVR V1 ส่วนทางขวาเป็น ET-AVR V2

รูปด้านซ้ายเป็น ET-BOARD V3.5 R1 และทางขวาเป็น ET-BOARD V4

รูปบอร์ดควบคุม jr-z180 (ขอขอบคุณ อ.เที่ยง เหมียดไธสง สำหรับบอร์ดทดลองครับ)

... ล่าสุดผมก็ได้บอร์ด ET-BOARD V5.0 จาก อ.เที่ยง เหมียดไธสง (เจ้าเดิม) ให้ผมมาทดลองเล่น ... เท่าที่นับๆดู ผมมีบอร์ดหลายตัว แต่ไม่ว่างจะเล่นเลย ... หน้าตา ของ ET-BOARD V5.0 เป็นดังนี้ครับ ... ข้อดีคงเป็นที่ เราสามารถเขียนโปรแกรมได้โดยตรงจากแป้นพิมพ์ บวกกับหน่วยความจำที่มากกว่า Et-BOAR V3.5/V4.0 เพราะใช้ CPU เป็น Z180 ที่มีประสิทธิภาพในการทำงานที่สูงกว่า ... ดังที่ได้กล่าวเอาไว้แล้ว ... ส่วนใครที่รอบทความ Z80 อยู่ก็รออีกสักระยะนะครับ ... ยังไม่ว่างพิมพ์เป็นบทความเลยครับ เตรียมตัวอย่างเอาไว้เยอะมาก ... และกำลังศึกษาเรื่องการเขียน compiler เผื่อจะได้เขียน C compiler สำหรับ Z80/Z180 เป็นของ ตัวเองบ้าง ยังไงถ้าทำได้สำเร็จ ก็คงมี C compiler ที่แจกให้ใช้ได้ฟรี กันล่ะครับ ...

รูปบอร์ด ET-BOARD V5.0 (ขอขอบคุณ อ.เที่ยง เหมียดไธสง สำหรับบอร์ดทดลองครับ)

ด้านซ้ายเป็น ET-SB31 V1 ทางด้านขวาเป็น Sila V3155 [รูปจาก Sila]

ด้านซ้ายเป็นบอร์ด CP-SB8252 ของ ETTและทางขวาเป็น Sila MTOOL-7 V2 [รูปจาก Sila]


รูปบอร์ด DnRx051

บอร์ดที่แสดงเป็น CP-68HC11 V2 ของETT

ในรูปเป็นบอร์ด CP-BS2SX ของ ETT


ในรูปเป็นบอร์ด PLC-1 ของ ATR

บอร์ดขยายการทำงานของบอร์ดควบคุมระบบ

บอร์ดที่แสดงเป็น ET-SSRAC ของ ETT

บอร์ดที่แสดงเป็น ET-PC8255 ของ ETT

บอร์ดที่แสดงเป็น ET-PCDIO ของ ETT


เขียนโดย : ศุภชัย บุศราทิจ
Author : Supachai Budsaratij
e-mail : raek@se-ed.net
วันที่ทำการปรับปรุง : ๒๔ พ.ค. ๒๕๔๓, ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๓, ๙ ก.ค. ๒๕๔๓, ๒๓ ก.ค. ๒๕๔๓, ๓ ส.ค. ๒๕๔๓, ๑๙ ส.ค. ๒๕๔๓, ๒๓ ส.ค. ๒๕๔๓, ๖ ต.ค. ๒๕๔๓, ๑๖ พ.ย. ๒๕๔๓, ๗ ธ.ค. ๒๕๔๓